ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
มีเป้าหมายการพัฒนาที่ให้ความสำคัญกับการดึงเอาพลังของภาคส่วนต่างๆ ทั้งภาคเอกชน ประชาสังคม ชุมชนท้องถิ่น มาร่วมขับเคลื่อน เพื่อให้ทุกส่วนมีส่วนในการเข้าสู่อำนาจบริหารและเข้าถึงการให้บริการและสวัสดิการที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมกัน
1. ลดความเหลื่อมล้ำ สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
- ปรับโครงสร้าง “เศรษฐกิจฐานราก”
- ปฏิรูประบบ “ภาษี”
- กระจายการถือครอง “ที่ดิน” และ “ทรัพยากร”
- เพิ่มผลิตภาพแรงงานไทย
- สร้างหลักประกันสังคมทุกกลุ่ม
- ลงทุนทางสังคมในกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
- เข้าถึงบริการสาธารณสุข
- เข้าถึงกระบวนการยุติธรรม
2. กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
- พัฒนาศูนย์กลางความเจริญ
- แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
- จัดระบบเมืองใหม่เพื่อการขยายตัวในอนาคต
- พัฒนาบนฐานข้อมูล
- พัฒนากำลังแรงงาน
3. เสริมสร้างพลังทางสังคม -สนับสนุนการรวมกลุ่ม -ส่งเสริมระบบรองรับสังคมผู้สูงอายุ
- สนับสนุนความร่วมมือจากทุกภาคส่วน
- ส่งเสริมความเสมอภาคทางเพศ
- สนับสนุนทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
- สนับสนุนเทคโนโลยีเพื่อรองรับสังคมยุคดิจิทัล
4. เพิ่มขีดความสามารถชุมชนท้องถิ่น
- พัฒนาขีดความสามารถการวางแผนชีวิตในระดับครอบครัว
- สร้างศักยภาพชุมชนให้พึ่งตนเองและพึ่งพากันเอง
- สร้างประชาธิปไตยชุมชน
- สร้างภูมิคุ้มกันทางปัญญาชุมชน